24.6.52

ARRAY AND RECORD

DTS 02-24-06-2552

อะเรย์ กับ เรคครอร์ด

อาร์เรย์ (Array) ความหมายของอาร์เรย์ คือแถวหรือลำดับ แถวหรือลำดับของข้อมูลชนิดเดียวกันที่มีจำนวนหลายตัวนำมาเก็บในตัวแปรชื่อเดียวกัน แต่ต่างกันที่ตัวบอกลำดับ ซึ่งเรียกว่าตัวห้อยหรือตัว Subscript ของตัวแปรนั้น ประเภทของอาร์เรย์ จะมี 2 ประเภท คือ อาร์เรย์ 1 มิติ , อาร์เรย์ หลายมิติ

อาร์เรย์ 1 มิติ
เช่น float Score[40]; มีความหมายว่า คะแนนสอบของนักเรียนที่เป็นเลขทศนิยม จำนวน 40 ตัว เก็บไว้ในตัวแปรชื่อ Score char name[100][20] ; มีความหมายว่า ข้อมูลรายชื่อพนักงาน 100 คน ที่ชื่อมีความยาวไม่เกิน 20 อักษร

อาร์เรย์ หลายมิติ
อาเรย์ หลายมิติจะเก็บข้อมูลไว้ในลักษณะของตาราง การสร้างอาเรย์ 2 มิติ การนำค่าที่ต้องการเก็บในอาเรย์เราจะต้องอ้างถึงลำดับของสมาชิกช่องนั้นๆ ทั้งลำดับในแนวนอนและลำดับในแนวตั้ง หรือจะมองในลักษณะของคู่ลำดับก็ได้ดังรูปต่อไปนี้

char name[4][5]
col 1 col 2 col 3
row1 name[0][0] name[0][1] name[0][2]

row2 name[1][0] name[1][1] name[1][2]

Structure

เป็นตัวแปรชนิดที่มีโครงสร้าง สามารถรวบรวมข้อมูลหลาย ๆ ชนิดเข้ามาเก็บไว้ด้วยกันกัน และช่วยในการจัดเก็บข้อมูลแบบ record

สามารถทำได้โดยคำสั่ง struct มาช่วยในการประกาศข้อมูลแบบโครงสร้าง โดยมีรูปแบบการประกาศดังนี้

struct struct_name

{

type1 name1;type2

name2;

……..

typeN nameN;}

struct_var;

struct เป็นคำสั่งที่ใช้ประกาศข้อมูลแบบโครงสร้างstruct_name เป็นชื่อข้อมูลแบบโครงสร้าง ใช้สำหรับประกาศข้อมูลแบบโครงสร้างกลุ่มอื่นให้มีโครงสร้างเหมือนกลุ่มโครงสร้างที่เคยประกาศไว้แล้วstruct_var เป็นชื่อตัวแปรโครงสร้างใช้สำหรับอ้างอิงข้อมูลภายในโครงสร้างtype1 name1, type2 name2,…,typeN nameN เป็นชนิด และชื่อตัวแปรที่ 1, 2, 3, … , N ตามลำดับ บางครั้งอาจจะเรียก name1, name2,…,nameN ว่า element 1, element 2, … , element N ตามลำดับ

ประวัติ

DTS 01-24-06-09








ชื่อ นางสาวณัชนันท์ นามสกุล ศิลาพัด



MISS NUTCHANAN SILAPAT


รหัสนักศึกษา 50152792080


หลักสูตร : การบริหารธุรกิจ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
คณะวิทยาการจัดการ


มหาลัยราชภัฏสวนดุสิต

E-MAIL : U50152792080@GMAIL.COM